.

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป | |||||||||||
1. รหัสและชื่อรายวิชา | |||||||||||
03-407-322-409 | การพัฒนาแอพพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่สําหรับวิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะ | ||||||||||
Mobile Application Development for Smart Farm Engineering | |||||||||||
2. จำนวนหน่วยกิต | |||||||||||
3(2-3-5) | |||||||||||
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา | |||||||||||
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ | |||||||||||
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน | |||||||||||
ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมา อาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมา | |||||||||||
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน | |||||||||||
ภาคการศึกษาที่ 1 / 2567 | |||||||||||
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมฟาร์มอัจฉริยะ ชั้นปีที่ 4 | |||||||||||
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
8. สถานที่เรียน | |||||||||||
ศูนย์กลาง – คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ | |||||||||||
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ | |||||||||||
1. จุดมุ่งหมายรายวิชา | |||||||||||
1. เข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบ 2. เข้าใจเกี่ยวกับวัฏจักรการพัฒนาระบบ 3. เข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิเคราะห์ระบบ 4. ประยุกต์ใช้เครื่องมือสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้อย่างเหมาะสม 5. เข้าใจถึงการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบในทางเทคนิค ทางปฏิบัติ และทางธุรกิจ 6. การใช้แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล 7. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบระบบ สามารถออกแบบหน้าจอการรับ/แสดงข้อมูล และออกแบบฐานข้อมูลได้ | |||||||||||
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ | |||||||||||
1. คำอธิบายรายวิชา | |||||||||||
การพัฒนาแอพพลิเคชั่นสําหรับโทรศัพท์มือถือ เครื่องมือและกรอบที่จําเป็นในการพัฒนาแอพพลิเคชันสําหรับการประมวลผลของอุปกรณ์เคลื่อนที่ในปัจจุบัน และที่เกิดขึ้นใหม่ ข้อจํากัด เทคนิคในการใช้งาน การออกแบบซอฟต์แวร์ การ ตรวจติดตามการจัดเก็บข้อมูล การนําเอาข้อมูลมาใช้ การประยุกต์ใช้งาน ทางด้านวิศวกรรมเกษตรอัจฉริยะ | |||||||||||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา | |||||||||||
บรรยาย | สอนเสริม | การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน | การศึกษาด้วยตนเอง | ||||||||
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย | 6 | ||||||||||
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล | |||||||||||
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา | |||||||||||
1 คุณธรรมและจริยธรรม | |||||||||||
1.1 คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องได้รับ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | |||||||||||
1.2 วิธีการสอน 1.2.1 การปฏิบัติตนในการเข้าชั้นเรียน 1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย 1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.2.4 การอภิปรายกลุ่ม 1.2.5 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 กลางภาค 1.3.2 งานที่มอบหมาย 1.3.3 จิตพิสัย | |||||||||||
2 ความรู้ | |||||||||||
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาเกษตรอัจฉริยะ 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางการพัฒนาแอพพลิเคชัน รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบวิศวกรรมซอฟต์แวร์ให้ตรงตามข้อกำหนด 2.1.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิศวกรรมซอฟต์แวร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.1.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.1.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.1.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.1.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | |||||||||||
2.2 วิธีการสอน การบรรยายประกอบการยกตัวอย่าง การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การอภิปราย การซักถาม กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยใช้การสอนแบบ Project Based | |||||||||||
2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 กลางภาค 2.3.2 ปลายภาค 2.3.3 งานที่มอบหมาย | |||||||||||
3 ทักษะทางปัญญา | |||||||||||
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับ 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม | |||||||||||
3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ร่วมกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม และนำเสนอผลงาน 3.2.2 วิเคราะห์ระบบ โดยเลือกกรณีศึกษาที่สนใจ 3.2.3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ | |||||||||||
3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 กลางภาค 3.3.2 ปลายภาค 3.3.3 งานที่มอบหมาย | |||||||||||
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | |||||||||||
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ต้องได้รับ 4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | |||||||||||
4.2 วิธีการสอน 4.2.1 การร่วมกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานสรุป และนำเสนอผลงาน 4.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย | |||||||||||
4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 กลางภาค 4.3.2 ปลายภาค 4.3.3 งานที่มอบหมาย 4.3.4 จิตพิสัย | |||||||||||
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องได้รับ 5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับวิศวกรรมการเกษตร 5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม | |||||||||||
5.2 วิธีการสอน 5.2.1 อภิปราย 5.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย 5.2.3 ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ 5.2.4 วิเคราะห์ระบบ จากกรณีศึกษา | |||||||||||
5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 กลางภาค 5.3.2 ปลายภาค 5.3.3 งานที่มอบหมาย 5.3.4 จิตพิสัย | |||||||||||
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล | |||||||||||
1. แผนการสอน | |||||||||||
ครั้งที่ | รายละเอียด | จำนวน ชั่วโมง | กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้ | ผู้สอน | |||||||
1 | Course Policies / Guidelines, Introduction / Overview System) | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
2 | System Analysis and Design Application Fundamentals | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ –PowerPoint –OOT ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
3 | Agile and Scrum for software development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ –PowerPoint –scrum ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
4 | UI/UX Design | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
5 | Prototype Development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
6 | Software Testing | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
7 | นำเสนอ workshop1 | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
8 | สอบกลางภาค | 3 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | ||||||||
9 | Mobile application development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
10 | Front-end Development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
11 | Back-end Development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
12 | Database and Data Services | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด –SlidePPT ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
13 | Cross Platform App Development | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย – Project based สื่อที่ใช้ -PowerPoint ![]() | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
14 | Mobile Application Development for Smart Farm Engineering | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
15 | Build a Mobile Application and Installation (ios/Android) | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -กรณีศึกษาแบบฝึกหัด -PowerPoint | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
16 | นำเสนอ Term project | 3 | กิจกรรม – Project based สื่อที่ใช้ -PowerPoint | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
17 | สอบปลายภาค | 3 | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | ||||||||
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ | |||||||||||
ผลการเรียนรู้ | วิธีประเมิน | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ||||||||
1 ( 1.1 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.3 ) 5 ( 1.1, 1.2, 1.4 ) | กลางภาค | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 | 30 | ||||||||
2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.3, 1.5 ) 5 ( 1.1, 1.4 ) | ปลายภาค | 9, 10, 17 | 30 | ||||||||
1 ( 1.1, 1.6, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.7 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.3, 1.4, 1.1, 1.2, 1.5, 1.6 ) 5 ( 1.1, 1.2, 1.3, 1.4 ) | งานที่มอบหมาย | 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 | 30 | ||||||||
1 ( 1.6, 1.2, 1.3, 1.4, 1.5, 1.7 ) 4 ( 1.4, 1.5, 1.6 ) 5 ( 1.3 ) | จิตพิสัย | 16 | 10 | ||||||||
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน | |||||||||||
1. เอกสารและตำราหลัก | |||||||||||
Hoffer, George and Valacich, Modern Systems Analysis and Design, 5 th Edition, Averica: Pearson Prentice Hall, 2008. Android Developers. (n.d.). Android design principles. https://developer.android.com/design/get-started/principles.html Hermes, D. (2015). Xamarin Mobile Application Development: Cross-Platform C# and Xamarin.Forms Fundamentals. Apress. https://link.springer.com/book/10.1007%2F978-1-4842-0214-2 Jones, M., Marsden, G., & Ebooks Corporation. (2006). Mobile Interaction Design (1st ed.). John Wiley & Sons, Ltd. https://ebookcentral.proquest.com/lib/qut/detail.action?docID=255361 Leibowitz, M. & Ebooks Corporation. (2015). Xamarin Mobile Development for Android Cookbook. Packt Publishing Ltd. https://ebookcentral.proquest.com/lib/qut/detail.action?docID=4191191 | |||||||||||
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ | |||||||||||
กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและพนิดา พานิชกุล. คัมภีร์การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2551 ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551 รัชนี กัลยาวินัยและอัจฉรา ธารอุไรกุล. การวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่. กรุงเทพฯ:การศึกษา, มปป. Marcus, A. & Ebooks Corporation. (2015). Mobile Persuasion Design: Changing Behaviour by Combining Persuasion Design with Information Design: Vol. Human–Computer Interaction Series. Springer London. https://link.springer.com/book/10.1007%2F978-1-4471-4324-6#about Neil, T. & Ebooks Corporation. (2012). Mobile design pattern gallery: UI patterns for mobile applications. O’Reilly Media. https://ebookcentral.proquest.com/lib/qut/detail.action?docID=871556 Panigrahy, N. (2015). Xamarin Mobile Application Development for Android (2nd ed). Packt Publishing Ltd. https://ebookcentral.proquest.com/lib/qut/detail.action?docID=3564797 Peppers, J. (2015). Xamarin Cross-platform Application Development (2nd ed). Packt Publishing. https://ebookcentral.proquest.com/lib/qut/detail.action?docID=1973856 Reynolds, M. (2014). Xamarin Essentials. Packt Publishing. https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&AuthType=sso&custid=qut&db=nlebk&AN=934163&site=ehost-live&scope=site&ebv=EB&ppid=pp_Cover Robinson, S., Marsden, G., & Jones, M. (2015). There’s not an app for that: mobile user experience design for life. Morgan Kaufmann. https://www.sciencedirect.com/science/book/9780124166912 Tavlikos, D. (2014). iOS Development with Xamarin Cookbook. Packt Publishing. https://go.oreilly.com/queensland/library/view/xamarin-mobile-development/9781784398576/ Tjondronegoro, D. (Ed.). (2013). Tools for mobile multimedia programming and development: Vol. Advances in wireless technologies and telecommunication (AWTT) book series. Information Science Reference. https://doi.org/10.4018/978-1-4666-4054-2 Xamarin. (n.d.). Xamarin. Android guides. https://developer.xamarin.com/guides/android/ | |||||||||||
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ | |||||||||||
[1] Mobile Operating System Market Share Worldwide. (n.d.). Retrieved May 3, 2021, from https://gs.statcounter.com/os-market-share/mobile/worldwide [2] Mobile Operating System Market Share United States of America. (2021, March). Retrieved May 11, 2021, from https://gs.statcounter.com/os-market-share/mobile/united-states-of-america [3] Rakestraw, T. L., Eunni, R. V., & Kasuganti, R. R. (2013). The mobile apps industry: A case study. Journal of Business Cases and Applications, 9(1), 1-26. [4] Joorabchi, M. E., Mesbah, A., & Kruchten, P. (2013). Real Challenges in Mobile App Development. 2013 ACM / IEEE International Symposium on Empirical Software Engineering and Measurement. Published. https://doi.org/10.1109/esem.2013.9 [5] Vallon, R., Wenzel, L., E. Brüggemann, M., & Grechenig, T. (2015). An Agile and Lean Process Model for Mobile App Development: Case Study into Austrian Industry. Journal of Software, 10(11), 1245–1264. https://doi.org/10.17706//jsw.10.11.1245-1264. [6] Peek, S. (2020, July 9). What Is Mobile App Development? Retrieved May 11, 2021, from https://www.businessnewsdaily.com/5155-mobile-app-development.html [7] Raluca Budiu. (2016, January 19). Mobile: Native Apps, Web Apps, and Hybrid Apps. Retrieved May 11, 2021, from https://www.nngroup.com/articles/mobile-native-apps/ [8] Janani. (2021, February 11). Different Types of Mobile Application Development- Every Business Owner Must Know! Retrieved May 11, 2021, from https://www.zuantechnologies.com/blog/different-types-mobile-application-development-everybusiness- owner-must-know/ [9] Valdellon, L. (2020, November 2). What Are the Different Types of Mobile Apps? And How Do You Choose? Retrieved May 11, 2021, from https://clevertap.com/blog/types-of-mobile-apps/ [10] Zohud, T., & Zein, S. (2021). Cross-Platform Mobile App Development in Industry: A Multiple Case-Study. International Journal of Computing, 46–54. https://doi.org/10.47839/ijc.20.1.2091 [11] Design Rush. (2020, November 27). The Ultimate Guide to Hybrid App Development. Retrieved May 11, 2021, from https://www.designrush.com/trends/hybrid-mobile-app-development [12] Mobile Application Market Size, Share & Growth| Industry Analysis, 2026. (n.d.). Retrieved May 11, 2021, from https://www.alliedmarketresearch.com/mobile-application-market [13] Michael Mandel, & Elliott Long. (2019, September). The App Economy in India. Progressive Policy Institute. Retrieved from https://www.progressivepolicy.org/wpcontent/ uploads/2019/09/PPI_IndianAppEconomy_V3-1.pdf [14] Top App Development Companies (2021). (2021b, May 10). Retrieved May 11, 2021, from https://www.businessofapps.com/app-developers/india/ [15] App Development Industry in India & its Dynamics. (2019, November 26). Retrieved May 11, 2021, from https://www.insightssuccess.in/app-development-industry-india-dynamics/ [16] Yan, H., Wang, J., Wang, Y., & Zhou, X. (2017). An Example for Industry 4.0: Design and Implementation of a Mobile App for Industrial Surveillance Based on Cloud. 2017 5th International Conference on Enterprise Systems (ES). Published. https://doi.org/10.1109/es.2017.61 [17] Menon, N. G. (2019, September 26). What Are the Various Phases of Mobile App Development? Retrieved May 11, 2021, from https://www.cognitiveclouds.com/insights/what-are-the-variousphases- of-mobile-app-development/ [18] Jabangwe, R., Edison, H., & Duc, A. N. (2018). Software engineering process models for mobile app development: A systematic literature review. Journal of Systems and Software, 145, 98–111. https://doi.org/10.1016/j.jss.2018.08.028 [19] Busch, Z. (2019, June 26). 6 Stages of the Mobile Development Lifecycle. Retrieved May 11, 2021, from https://learn.g2.com/mobile-development-lifecycle [20] Wikipedia contributors. (2021, April 23). Website wireframe. Retrieved May 11, 2021, from https://en.wikipedia.org/wiki/Website_wireframe [21] Ian Blair. (n.d.-a). 8 Steps to Understanding the Mobile App Development Lifecycle. Retrieved May 11, 2021, from https://buildfire.com/understanding-mobile-app-development-lifecycle/ [22] Mobile Backend-as-a-Service – 4 mBaaS Platforms you need to check out. (2019, July 26). Retrieved May 11, 2021, from https://waracle.com/blog/mbaas/how-to-choose-the-right-backendas- a-service-baas-platform/ [23] Francese, R., Gravino, C., Risi, M., Scanniello, G., & Tortora, G. (2017). Mobile App Development and Management: Results from a Qualitative Investigation. 2017 IEEE/ACM 4th International Conference on Mobile Software Engineering and Systems (MOBILESoft). Published. https://doi.org/10.1109/mobilesoft.2017.33 [24] Zhang, M., Cheow, E., Ho, C. S., Ng, B. Y., Ho, R., & Cheok, C. C. S. (2014). Application of Low-Cost Methodologies for Mobile Phone App Development. JMIR MHealth and UHealth, 2(4), e55. https://doi.org/10.2196/mhealth.3549 [25] K. Flora, H., Wang, X., & V.Chande, S. (2014). An Investigation into Mobile Application Development Processes: Challenges and Best Practices. International Journal of Modern Education and Computer Science, 6(6), 1–9. [26] Jones, N., & Moffitt, M. (2016). Ethical guidelines for mobile app development within health and mental health fields. Professional Psychology: Research and Practice, 47(2), 155–162. [27] Asfour, A., Zain, S., Salleh, N., & Grundy, J. (2019). Exploring agile mobile app development in industrial contexts: A qualitative study. International Journal of Technology in Education and Science, 3(1), 29-46. [28] Holzer, A., & Ondrus, J. (2009). Trends in Mobile Application Development. Lecture Notes of the Institute for Computer Sciences. Social Informatics and Telecommunications Engineering, 55–64. https://doi.org/10.1007/978-3-642-03569-2_6. [29] Sommerville, Ian, Software Engineering, 8 th Edition, Averica: Peason Education Limited, 2007. | |||||||||||
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา | |||||||||||
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา | |||||||||||
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ ที่ทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้ 1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินผู้เรียน 2 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 3 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน | |||||||||||
2. การประเมินการสอน | |||||||||||
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดังนี้ 1 ประเมินผลโดยคณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตาม PM-14 2 อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยสังเกตจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา | |||||||||||
3. การปรับปรุงการสอน | |||||||||||
หลังจากได้ผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 1 ปรับปรุงรูปแบบการสอนโดยเพิ่มการจัดกลุ่มทำโครงงาน(พัฒนาโปรแกรม)ตามที่นักศึกษาสนใจ แล้วให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มมาแลกเปลี่ยนปัญหา-แนวทางแก้ปัญหาโดยมีอาจารย์ช่วยสรุปวิธีแก้ปัญหา | |||||||||||
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา หมวดที่ 5 ข้อที่ 2 | |||||||||||
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก 1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร |