หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป | |||||||||||
1. รหัสและชื่อรายวิชา | |||||||||||
02-051-311 | เทคโนโลยีเชิงวัตถุ | ||||||||||
Object Oriented Technology | |||||||||||
2. จำนวนหน่วยกิต | |||||||||||
(3-0-6) | |||||||||||
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา | |||||||||||
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ | |||||||||||
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน | |||||||||||
ผู้รับผิดชอบรายวิชา อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมาอาจารย์ผู้สอน อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมา อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมา อ.จีรนันท์ ตะสันเทียะ วิทยาเขตสุรินทร์ อ.สรายุทธ กรวิรัตน์ วิทยาเขตกาฬสินธุ์ |
|||||||||||
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน | |||||||||||
ภาคการศึกษาที่ 1 / 2558 | |||||||||||
ชั้นปีที่ 3 | |||||||||||
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre–requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co–requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
8. สถานที่เรียน | |||||||||||
34-806 | |||||||||||
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ | |||||||||||
1. จุดมุ่งหมายรายวิชา | |||||||||||
1. เข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของแนวคิดเชิงวัตถุ 2. เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างโมเดลสำหรับแนวคิดเชิงวัตถุ 3. เข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ออกแบบด้วยวิธีการเชิงวัตถุ และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ได้แก่ การกำหนดคลาสและการสร้างวัตถุ คอนสตรรักเตอร์ การส่งข้อความ การสืบทอดคุณสมบัติจากหลายคลาส การโอเวอร์ไรท์ โพลีมอร์ฟิสซึม การเชื่อมโยงแบบพลวัต การซ่อนข้อมูล รูปแบบการดีไซน์และเฟรมเวิร์ค องค์ประกอบและการพัฒนาซอฟต์แวร์จากองค์ประกอบ |
|||||||||||
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ | |||||||||||
1. คำอธิบายรายวิชา | |||||||||||
ความสำคัญของแนวคิดเชิงวัตถุ การสร้างโมเดลสำหรับแนวคิดเชิงวัตถุ การวิเคราะห์ ออกแบบด้วยวิธีการเชิงวัตถุ และการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ โดยครอบคลุมเกี่ยวกับ การกำหนดคลาสและการสร้างวัตถุ คอนสตรรักเตอร์ การส่งข้อความ การสืบทอดคุณสมบัติจากหลายคลาส การโอเวอร์ไรท์ โพลีมอร์ฟิสซึม การเชื่อมโยงแบบพลวัต การซ่อนข้อมูล รูปแบบการดีไซน์และเฟรมเวิร์ค องค์ประกอบและการพัฒนาซอฟต์แวร์จากองค์ประกอบ | |||||||||||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา | |||||||||||
บรรยาย | สอนเสริม | การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน | การศึกษาด้วยตนเอง | ||||||||
3 | สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย | 6 | |||||||||
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล | |||||||||||
5 | |||||||||||
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา | |||||||||||
1 คุณธรรมและจริยธรรม | |||||||||||
1.1 คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องได้รับ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ |
|||||||||||
1.2 วิธีการสอน บรรยายเชิงอภิปราย เกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ |
|||||||||||
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 งานที่มอบหมาย 1.3.2 จิตพิสัย |
|||||||||||
2 ความรู้ | |||||||||||
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด 2.1.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.1.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง |
|||||||||||
2.2 วิธีการสอน บรรยายและอภิปรายกลุ่ม |
|||||||||||
2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 สอบกลางภาค 2.3.2 สอบปลายภาค 2.3.3 งานที่มอบหมาย 2.3.4 จิตพิสัย |
|||||||||||
3 ทักษะทางปัญญา | |||||||||||
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับ 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม |
|||||||||||
3.2 วิธีการสอน การอภิปรายากลุ่ม และงานกลุ่มที่มอบหมาย |
|||||||||||
3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 สอบกลางภาค 3.3.2 สอบปลายภาค 3.3.3 งานที่มอบหมาย |
|||||||||||
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | |||||||||||
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ต้องได้รับ 4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง |
|||||||||||
4.2 วิธีการสอน มอบหมายงานกลุ่ม |
|||||||||||
4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 สอบกลางภาค 4.3.2 สอบปลายภาค 4.3.3 งานที่มอบหมาย 4.3.4 จิตพิสัย |
|||||||||||
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล |
|||||||||||
1. แผนการสอน | |||||||||||
ครั้งที่ | รายละเอียด | จำนวน ชั่วโมง | กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้ |
ผู้สอน | |||||||
1 | แนะนำ Object Orientation และ Classification Abstraction | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
2 | Aggregation Abstraction | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
3 | Generalization Abstraction | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
4 | Association Abstraction | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
5 | หลักการและ Diagrams ที่ใช้ใน Object-oriented Analysis | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
6 | Use Case Diagram | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
7 | Class Diagram | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
8 | สอบกลางภาค | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
9 | Sequence Diagram | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
10 | Activity Diagram | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
11 | หลักการและ Diagram ที่ใช้ใน Object-oriented Design | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
12 | Refinement Diagrams ที่สร้างจาก Object-oriented Analysis | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
13 | Application Architecture Design | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
14 | System Architecture Design | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
15 | การแปลง Class Diagram เป็น Relation | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
16 | Revision & Presentation | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
17 | สอบปลายภาค | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
อ.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
อ.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล
|
|||||||
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ | |||||||||||
ผลการเรียนรู้ | วิธีประเมิน | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ||||||||
2 ( 1.2, 1.1, 1.3 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.6 ) |
สอบกลางภาค | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 | 30 | ||||||||
2 ( 1.2, 1.1, 1.3 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.6 ) |
สอบปลายภาค | 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17 | 30 | ||||||||
1 ( 1.7 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.1, 1.3, 1.5 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.6, 1.4, 1.1 ) |
งานที่มอบหมาย | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17 | 30 | ||||||||
1 ( 1.7 ) 2 ( 1.4 ) 4 ( 1.6, 1.4 ) |
จิตพิสัย | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17 | 10 | ||||||||
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน | |||||||||||
1. เอกสารและตำราหลัก | |||||||||||
กิตติพงษ์ กลมกล่อม, พื้นฐานการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุด้วย UML, สำนักพิมพ์ เคทีพี, 2552 กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และ กิตติพงษ์ กลมกล่อม,การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุด้วย UML, สำนักพิมพ์ เคทีพี, 2548 |
|||||||||||
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ | |||||||||||
T.C.Lethbridge & R. Laganiere, Object-Oriented Software Engineering Using UML and Java, 2nd edition, McGraw-Hill, 2005 S.Bennett, S. McRobb, and R. Farmer, Object-Oriented System Analysis and Design Using UML, 2nd edition, McGraw-Hill, 2002 P. Stevens and R. Pooley, Using UML Software Engineering with Objects and Components, 2nd Edition, Addison-Wesley, 2006 S.R.Schach, Object-Oriented and Classical Software Engineering, 5th Edition, McGraw-Hill, 2002 G.Booch, J.Rumbaugh, and I.Jacobson, Unified Modeling Language: User Guide, Addison Wesley, 1999 |
|||||||||||
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ | |||||||||||
S.Gossain, Object Modeling and Design Strategies, SIGS, Cambridge, 1998 J.J.Odell, Advanced Object-Oriented Analysis and Design Using UML, SIGS, Cambridge, 1998 J.Martin and J.J. Odell, Object-Oriented Methods: A Foundation, UML Edition, Prentice Hall, 1998 |
|||||||||||
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา | |||||||||||
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา | |||||||||||
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ ที่ทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้ 1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินผู้เรียน 2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน |
|||||||||||
2. การประเมินการสอน | |||||||||||
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดังนี้ 1 การสังเกตการณ์เรียนการสอนของผู้ร่วมทีมสอน 2 อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยสังเกตจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา |
|||||||||||
3. การปรับปรุงการสอน | |||||||||||
หลังจากได้ผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 1 ปรับเปลี่ยนการเรียนรู้นอกชั้นเรียน 2 ปรับปรุงรูปแบบการสอนโดยเพิ่มการจัดกลุ่มทำโครงงาน(พัฒนาโปรแกรม)ตามที่นักศึกษาสนใจ แล้วให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มมาแลกเปลี่ยนปัญหา-แนวทางแก้ปัญหาโดยมีอาจารย์ช่วยสรุปวิธีแก้ปัญหา |
|||||||||||
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา หมวดที่ 5 ข้อที่ 2 | |||||||||||
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก 1 อาจารย์มีการประเมินความเหมาะสมของข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน |
|||||||||||
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา | |||||||||||
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ |