วิชา Information Technology for Smart Living

รายละเอียดของรายวิชา

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

วิทยาเขต/คณะ/สาขาวิชา         ศูนย์กลาง นครราชสีมา

วิทยาเขตขอนแก่น

วิทยาเขตสกลนคร

วิทยาเขตสุรินทร์

หมวดที่  1  ข้อมูลโดยทั่วไป

  1. 1. รหัสและชื่อรายวิชา

00-000-041-004           เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาด

Information Technology for Smart Living

  1. 2. จํานวนหนวยกิต

3(3-0-6)                    บรรยาย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

  1. 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

  1. 4. อาจารย์ผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผูสอน

          มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

          ผู้รับผิดชอบ     1. ผศ.ดร.พนิดา  หล่อวงศ์ตระกูล           ศูนย์กลาง นครราชสีมา

ผู้สอน             1. ผศ.ดร.เฉลิมชัย  หล่อวงศ์ตระกูล         ศูนย์กลาง นครราชสีมา

  1. ผศ.ดร.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล           ศูนย์กลาง นครราชสีมา
  2. 3. ดร.สุมาลี ชัยสิทธิ์ ศูนย์กลาง นครราชสีมา
  3. 4. ดร.ฉัตร พยุงวัฒนกูล                     ศูนย์กลาง นครราชสีมา
  1. 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ 1/2567

โปรแกรมศึกษาทั่วไป ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4

  1. 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite)

  1. 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites)

  1. 8. สถานที่เรียน

มทร.อีสาน ศูนย์กลางนครราชสีมา และศูนย์หนองระเวียง มทร.อีสาน

  1. 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด

28 กุมภาพันธ์ 2566

 

หมวดที่  2  จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้

  1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

 

  • มีพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บนพื้นฐานของหลักคุณธรรม จริยธรรม และกฎหมาย รวมถึงการมี เจตคติที่ดีต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • มีความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รูปแบบและบทบาทของการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตและการปรับตัว
  • สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาด
  • มีทักษะการทำงานเป็นทีม มีจิตอาสา สำนึกสาธารณะ เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก
  • สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน เพื่อการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และพัฒนาต่อยอดได้อย่างต่อเนื่อง
  1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs) เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้วนักศึกษาสามารถ

CLO1: เข้าใจความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

CLO2: วิเคราะห์และอธิบายประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในด้านต่างๆ

CLO3:  ตระหนักต่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล

CLO4:  ประยุกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับวิถีชีวิตอย่างชาญฉลาด โดยบูรณาการความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ สนับสนุนการดำรงชีวิตต่อตนเองและสังคม
CLO5: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน มีจริยธรรม

 

  1. 3. วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้
ผลลัพธ์การเรียนรู้ วิธีการสอน / ประสบการณ์การเรียนรู้ วิธีการวัดและประเมินผล
CLO 1 TLA1: การบรรยาย (CLO1, 2, 3, 4, 5)

TLA2: การอภิปราย ระดมความคิด (CLO1, 2, 3, 4, 5)

AT1:  แบบฝึกหัด (TLA1)

AT3:  สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินจากผลงานที่ได้รับ
มอบหมาย รวมถึงการนำเสนอ (TLA1)

 

 CLO 2 TLA1:       การบรรยาย (CLO1, 2, 3, 4, 5)

TLA2:       การอภิปราย ระดมความคิด (CLO1, 2, 3, 4, 5)

AT1:  แบบฝึกหัด (TLA1)

AT3:  สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินจากผลงานที่ได้รับ
มอบหมาย รวมถึงการนำเสนอ (TLA1)

 

 CLO 3 TLA1:       การบรรยาย (CLO1, 2, 3, 4, 5)

TLA2:       การอภิปราย ระดมความคิด (CLO1, 2, 3, 4, 5)

AT1:  แบบฝึกหัด (TLA1)

AT3:  สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินจากผลงานที่ได้รับ
มอบหมาย รวมถึงการนำเสนอ (TLA1)

 

 CLO 4 TLA1:       การบรรยาย (CLO1, 2, 3, 4, 5)

TLA2:       การอภิปราย ระดมความคิด (CLO1, 2, 3, 4, 5)

TLA4:       การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based-learning) (CLO2, 4, 5)

AT2:  ประเมินจากผลงานและการนำเสนอ (TLA2, 3, 4)

AT4:  การกำหนดค่าระดับคะแนน: Rubric score
(Peer to peer assessment; ผู้เรียนประเมินผู้เรียน ผู้สอนประเมินผู้เรียน ชุมชนประเมิน
ผลงาน) (TLA4)

 

  1. 4. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ มีการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาดไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหา หรือส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้นอย่างรู้เท่าทันเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างสอดคล้องกับแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคสังคมสารสนเทศ และมีการปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว

หมวดที่  3  ลักษณะและการดำเนินการ

  1. คำอธิบายรายวิชา

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง  เมืองอัจฉริยะ สังคมออนไลน์ เศรษฐกิจดิจิทัล การตลาดออนไลน์ ดิจิทัลคอนเทนต์  เทคโนโลยีบล็อกเชน โลกเสมือนแห่งอนาคต การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ความมั่นคงของข้อมูล  จริยธรรม กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับวิถีชีวิตอย่างชาญฉลาดเพื่อแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ นำไปสู่นวัตกรรมสนับสนุนการดำรงชีวิตต่อตนเองและสังคม สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต  แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  1. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษา ไม่มีการฝึกภาคปฏิบัติ 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

 

  1. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3 ชั่วโมง/สัปดาห์

 

 

 

 

 

 

 

หมวดที่  4  การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

 

มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4 ด้าน ดังนี้

  1. ด้านความรู้
  • มีความรู้ความเข้าใจทางด้านดิจิทัล เทคโนโลยี เพื่อเล็งเห็นถึงประโยชน์และ ผลกระทบของเทคโนโลยี (Information and Digital Literacy)
  • สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายโดย เลือกใช้รูปแบบของสื่อและวิธีการที่ เหมาะสม (Communication)
  • สามารถบูรณาการความรู้ที่มาจาก การศึกษาเล่าเรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อ แก้ไขปัญหาในรูปแบบใหม่ๆ (Innovation)
  1. ด้านทักษะ
  • การคิดและวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ มี วิจารณญาณ เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Critical Thinking / Complex Problem Solving / Innovative Thinking)
  • การทำงานเป็นทีม มีภาวะผู้นำ (Change Catalyst / Leadership / Teamwork)
  • ความสามารถในการใช้ ควบคุม ดูแล เทคโนโลยี(Technology Literacy)
  • การจัดการความเครียด ยืดหยุ่น และ รับมือกับสถานการณ์ต่างๆ เช่น การดูแล สุขภาพ การพัฒนาทักษะการจัดการด้าน การเงิน (Resilience, Stress tolerance and Flexibility)
  1. ด้านจริยธรรม
  • ตระหนักและเคารพสิทธิของผู้อื่นโดยไม่ เลือกปฏิบัติ(Inclusiveness, Equality, Fair Treatment, Mutual Respect)
  • มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของ สังคม (Regulatory Compliance)
  1. ด้านลักษณะบุคคล
  • เป็นบุคคลผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และริเริ่มทำสิ่งใหม่ๆ (Creativity and Initiator)
  • แสดงออกถึงความใฝ่รู้ ที่จะมีการศึกษา หาความรู้อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย (Lifelong Learner)
  • มีจิตสำนึกสาธารณะ ต่อเพื่อนรวมงาน สังคม สิ่งแวดล้อม (Public Awareness, Social Responsibility, Environmental Concerns)

หมวดที่  5  แผนการสอนและการประเมินผล

  1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวนชั่วโมง ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน
1 2 3 4  
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
2 Digital Transformation 3 ˜ ™ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
3 Internet of Things (IoT)
การสื่อสารไร้สาย-และ-เทคโนโลยีเซนเซอร์
3 ˜ ™ ˜ ˜   –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันระดมความคิดนำเสนอฮาร์ดแวร์ใหม่ๆเพื่อแก้ปัญหา

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
4 Smart Home/Smart City 3 ˜ ™ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

–   รีวิวแอปพลิเคชัน

หมวดที่ 1
ข้อ 4
5 Social Network 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
6 Digital Economy 3 ˜ ™ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

–   ทำคลิปวิดีโอ แสดงการซื้อของผ่านอินเทอร์เน็ต  สังคมไร้เงินสด

หมวดที่ 1
ข้อ 4
7 Online Marketing / Digital Content 3 ˜ ˜ ˜ ˜ -วิเคราะห์ SWOT
8 สอบกลางภาค
9 Blockchain Technology 3 ˜ ™ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
10 โลกเสมือนแห่งอนาคต Metaverse 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
11 ความปลอดภัยของข้อมูลและการจัดการความเสี่ยง 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   นำเสนอกรณีศึกษาและบทลงโทษ

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
12 จริยธรรมและกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
13 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างชาญฉลาดด้านต่างๆ 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันระดมสมองการนำ IT ไปใช้อย่างชาญฉลาดเพื่อการแก้ปัญหา

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

หมวดที่ 1
ข้อ 4
14 แนวโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

–   เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาบรรยายแนวโน้มของเทคโนโลยีและถ่ายทอดประสบการณ์

หมวดที่ 1
ข้อ 4
15 สรุป 3 ˜ ˜ ˜ ˜ –   การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย

–   การสอนแบบการตั้งคำถาม

–   ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม

–   เว็บไซต์, คลิปวิดีโอ

–   Power point

–   ลักษณะของโปรเจคเน้นการนำ IT ไปประยุกต์ใช้ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในสาขาที่ นศ. สนใจ ส่งเสริมจุดแข็งและแก้ไขจุดอ่อนของงาน องค์กร หรือหน่วยงานต่างๆ ในกรณีศึกษา ในลักษณะ Problem-based learning หรือ Project-based learning

โดยให้ นศ. แบ่งกลุ่มและนำเสนอ เป็นหนังสั้น 5 นาที

หมวดที่ 1
ข้อ 4
16 นำเสนอ 3 ˜ ˜ ˜ ˜ ˜
17 สอบปลายภาค

 

  1. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (ให้ระบุหัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ปรากฎใน (Curriculum Mapping))
ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
2.1-2.3, 3.1-3.3 สอบกลางภาค 8 20%
2.1-2.3, 3.1-3.3 สอบปลายภาค 17 20%
1.1-1.5, 4.2 การเข้าชั้นเรียน

การมีส่วนร่วม อภิปราย

เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน

ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1-1.5, 2.1-2.3, 3.1-3.3, 4.2, 5.1, 5.3, 5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า

การนำเสนอรายงาน

การทำงานกลุ่มและผลงาน

การอ่านและสรุปบทความ

การส่งงานตามที่มอบหมาย

ตลอดภาคการศึกษา 50%

หมวดที่  6  ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

  1. เอกสารและตำราหลัก

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2561.

ดร. ภัควริศ เกื้อกูล. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ.  ซิมพลิฟาย, สนพ. 2563

  1. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2561.

ดร. ภัควริศ เกื้อกูล. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ.  ซิมพลิฟาย, สนพ. 2563

 ทัพพ์เทพ ภาปราชญ์. สื่อดิจิทัลกับเทคโนโลยีสารสนเทศ. ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.2566

จักรพันธ์ ประจวบเหมาะ. The Next Era ยุคถัดไป. สยามจุลละมณฑล, บจก. 2567

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม) กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560

ผศ.ดร. รุ่งรัศมี บุญดาว. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจในยุคดิจิทัล.  ลัคกี้บุ๊คส์. 2560

  1. เอกสารและข้อมูลแนะนำ

บทความ  เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น

PANTIP.COM IT news; http://www.pantip.com/tech/newscols/

ไอที : Knowledge Center แหล่งรวมความรู้ด้านไอที; http://www.it.co.th/

หมวดที่  7  การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

  1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้  ที่จัดทำโดยนักศึกษา  ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  • การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
  • การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
  • แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
  • ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
  1. การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ ดังนี้

  • การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
  • ผลการสอบ
  • การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
  1. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้

  • ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
  • การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  1. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

  • การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
  • มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
  1. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

  • ปรับปรุงรายวิชาทุก 3  ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4
  • เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ

แบบฟอร์มแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

l  ความรับผิดชอบหลัก              o  ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา   ¨ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์       ¨ ภาษา        þ วิทยาศาสตร์และคณิตศาตร์

 

 

มาตรฐานผลการเรียนรู้รายวิชา
1. ความรู้ 2. ทักษะ 3. จริยธรรม 4. ลักษณะบุคคล
1 2 3 1 2 3 4 1 2 1 2 3
กลุ่มวิชาทักษะเทคโนโลยีนวัตกรรม (Innovative Technology Skill) ˜ ™ ˜ ˜ ™ ˜ ™ ˜ ˜ ˜ ˜ ˜
00-000-xxx-xxx เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาด