หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป | |||||||||||
1. รหัสและชื่อรายวิชา | |||||||||||
02-051-304 | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | ||||||||||
Management Information Systems | |||||||||||
2. จำนวนหน่วยกิต | |||||||||||
3(3-0-6) | |||||||||||
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา | |||||||||||
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ | |||||||||||
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน | |||||||||||
ผู้รับผิดชอบรายวิชา พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมาอาจารย์ผู้สอน พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง |
|||||||||||
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน | |||||||||||
ภาคการศึกษาที่ 2 / 2557 | |||||||||||
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นปีที่ 3 | |||||||||||
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
8. สถานที่เรียน | |||||||||||
วิทยาเขตสุรินทร์ – คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลาง – คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
|||||||||||
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ | |||||||||||
1. จุดมุ่งหมายรายวิชา | |||||||||||
1. เข้าใจแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ 2. เข้าใจบทบาทของสารสนเทศในองค์กร 3. เข้าใจเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ และการสื่อสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบ สารสนเทศ 4. เข้าใจแนวทางการพัฒนาระบบการบริหารการใช้ทรัพยากรระบบ 5. เข้าใจจริยธรรมและผลกระทบของระบบสารสนเทศ |
|||||||||||
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ | |||||||||||
1. คำอธิบายรายวิชา | |||||||||||
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ บทบาทของสารสนเทศในองค์กร เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ และการสื่อสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ และการบริหารงานในองค์กร แนวทางการพัฒนาระบบการบริหารการใช้ทรัพยากรระบบ จริยธรรมและผลกระทบของระบบสารสนเทศ | |||||||||||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา | |||||||||||
บรรยาย | สอนเสริม | การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน | การศึกษาด้วยตนเอง | ||||||||
3 | สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย | 6 | |||||||||
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล | |||||||||||
4 | |||||||||||
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา | |||||||||||
1 คุณธรรมและจริยธรรม | |||||||||||
1.1 คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องได้รับ 1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ |
|||||||||||
1.2 วิธีการสอน 1.2.1 การปฏิบัติตนในการเข้าชั้นเรียน 1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย 1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.2.4 การอภิปรายกลุ่ม 1.2.5 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||||
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 สอบกลางภาค 1.3.2 สอบปลายภาค 1.3.3 งานที่มอบหมาย 1.3.4 จิตพิสัย |
|||||||||||
2 ความรู้ | |||||||||||
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด 2.1.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.1.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.1.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.1.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.1.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||||
2.2 วิธีการสอน การบรรยายประกอบการยกตัวอย่าง การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การอภิปราย การซักถาม กรณีศึกษา ใบงาน และมอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง |
|||||||||||
2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 สอบกลางภาค 2.3.2 สอบปลายภาค 2.3.3 งานที่มอบหมาย 2.3.4 จิตพิสัย |
|||||||||||
3 ทักษะทางปัญญา | |||||||||||
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับ 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม |
|||||||||||
3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ร่วมกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานสรุป และนำเสนอผลงาน 3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาสถานการณ์การใช้งานด้านเทคโนโลยี 3.2.3 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ 3.2.4 มีการวิเคราะห์เพื่อการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศเทศที่เกี่ยวข้อง 3.2.5 ร่วมกันอภิปรายการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ |
|||||||||||
3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 สอบกลางภาค 3.3.2 สอบปลายภาค 3.3.3 งานที่มอบหมาย |
|||||||||||
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | |||||||||||
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ต้องได้รับ 4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง |
|||||||||||
4.2 วิธีการสอน 4.2.1 การร่วมกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม ทำรายงานสรุป และนำเสนอผลงาน 4.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย |
|||||||||||
4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 สอบกลางภาค 4.3.2 สอบปลายภาค 4.3.3 งานที่มอบหมาย 4.3.4 จิตพิสัย |
|||||||||||
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องได้รับ 5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม |
|||||||||||
5.2 วิธีการสอน 5.2.1 อภิปราย 5.2.2 กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมาย 5.2.3 ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งสารสนเทศต่างๆ 5.2.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาสถานการณ์การใช้งานด้านเทคโนโลยี 5.2.5 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อวิถีชีวิตแบบอัจฉริยะได้อย่างเหมาะสม |
|||||||||||
5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 สอบกลางภาค 5.3.2 งานที่มอบหมาย 5.3.3 จิตพิสัย |
|||||||||||
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล | |||||||||||
1. แผนการสอน | |||||||||||
ครั้งที่ | รายละเอียด | จำนวน ชั่วโมง | กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้ |
ผู้สอน | |||||||
1 | องค์กรและแนวคิดพื้นฐาน | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง | |||||||
2 | ระบบสารสนเทศในองค์กร | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง | |||||||
3 | กลยุทธ์ และระบบสารสนเทศที่นำมาใช้ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง | |||||||
4 | ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง | |||||||
5 | ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง |
|||||||
6 | การจัดการทรัพยากรข้อมูล (Data Resource Management) | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point คลิปคลิปวิดีโอ |
ศุภรัชญา จงอุตส่าห์ | |||||||
7 | การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ศุภรัชญา จงอุตส่าห์ | |||||||
8 | สอบกลางภาค | 3 | |||||||||
9 | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -คลิปวิดีโอ -ข่าว |
ศุภรัชญา จงอุตส่าห์ | |||||||
10 | การประยุกต์ใช้แอพพลิเคชันระดับองค์กรในโซ่อุปทาน | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
ศุภรัชญา จงอุตส่าห์ | |||||||
11 | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -ข่าว |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
12 | ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -คลิปวิดีโอ -ข่าว |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
13 | ธุรกิจอัจฉริยะและการทำเหมืองข้อมูล | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -คลิปวิดีโอ -ข่าว |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
14 | ความมั่นคงของระบบสารสนเทศและจริยธรรม | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม – เว็บไซต์ -Power point -คลิปวิดีโอ -ข่าว |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
15 | สรุป | 3 | – การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย – การสอนแบบการตั้งคำถาม – ร่วมกันอภิปรายกลุ่ม |
พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
16 | นำเสนอผลงาน | 3 | นำเสนอผลงาน | พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล นิพนธ์ พิมพ์เบ้าธรรม ศุภรัชญา จงอุตส่าห์ ปัญญ์ชลี ปราณีตพลกรัง |
|||||||
17 | สอบปลายภาค | 3 | |||||||||
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ | |||||||||||
ผลการเรียนรู้ | วิธีประเมิน | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ||||||||
1 ( 1.1, 1.6 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.1, 1.5 ) 5 ( 1.3 ) |
สอบกลางภาค | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 | 30 | ||||||||
1 ( 1.1, 1.6, 1.5, 1.7 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.1, 1.5 ) |
สอบปลายภาค | 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14 | 30 | ||||||||
1 ( 1.1, 1.6, 1.2, 1.5, 1.7 ) 2 ( 1.4, 1.2, 1.3, 1.5, 1.6, 1.7, 1.8, 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.3, 1.4, 1.1, 1.5, 1.6 ) 5 ( 1.1, 1.3, 1.4 ) |
งานที่มอบหมาย | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 | 30 | ||||||||
1 ( 1.1, 1.2, 1.5, 1.7 ) 2 ( 1.4, 1.5 ) 4 ( 1.4, 1.5, 1.6 ) 5 ( 1.4 ) |
จิตพิสัย | 10 | |||||||||
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน | |||||||||||
1. เอกสารและตำราหลัก | |||||||||||
1. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ซีเอ็ดยูเคชั่น 2. พนิดา พานิชกุลและ สุธี พงศาสกุลชัย. (2552). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ,เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์ |
|||||||||||
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ | |||||||||||
1. Kenneth C.Laudon and Jane P.Laudon.(2011).Management Information Systems:Managing The Digital Firm.12nd Edition, New York:Macmillan. 2. James A. O’Brien. (2011). Management Information Systems. 10 Edition, McGraw-Hill, Inc., 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ, Kenneth C.Laudon Jane P. Laudon แปลและเรียบเรียงโดย สัลยุทธ์ สว่างวรรณ, บริษัท เพียร์สัน เอ็ดคูเคชั่น อินโดไชน่า จำกัด, 2545 |
|||||||||||
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา | |||||||||||
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา | |||||||||||
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ ที่ทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้ 1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินผู้เรียน 2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน |
|||||||||||
2. การประเมินการสอน | |||||||||||
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดังนี้ 1 ประเมินผลโดยคณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตาม PM-14 |
|||||||||||
3. การปรับปรุงการสอน | |||||||||||
หลังจากได้ผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 1 ปรับปรุงรูปแบบการสอนโดยเพิ่มการจัดกลุ่มทำโครงงาน(พัฒนาโปรแกรม)ตามที่นักศึกษาสนใจ แล้วให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มมาแลกเปลี่ยนปัญหา-แนวทางแก้ปัญหาโดยมีอาจารย์ช่วยสรุปวิธีแก้ปัญหา |
|||||||||||
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา หมวดที่ 5 ข้อที่ 2 | |||||||||||
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก 1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 2 อาจารย์มีการประเมินความเหมาะสมของข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน |
|||||||||||
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา | |||||||||||
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ 2 ปรังปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 |