หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป | |||||||||||
1. รหัสและชื่อรายวิชา | |||||||||||
02-051-419 | การประมวลผลภาพ | ||||||||||
Image Processing | |||||||||||
2. จำนวนหน่วยกิต | |||||||||||
3(3-3-0) | |||||||||||
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา | |||||||||||
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพเลือก | |||||||||||
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน | |||||||||||
ผู้รับผิดชอบรายวิชา เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมาอาจารย์ผู้สอน เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล ศูนย์กลาง นครราชสีมา |
|||||||||||
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน | |||||||||||
ภาคการศึกษาที่ 2 / 2557 | |||||||||||
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นปีที่ | |||||||||||
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre–requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co–requisite) (ถ้ามี) | |||||||||||
– | |||||||||||
8. สถานที่เรียน | |||||||||||
34-706 | |||||||||||
9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด | |||||||||||
– | |||||||||||
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ | |||||||||||
1. จุดมุ่งหมายรายวิชา | |||||||||||
1. สามารถอธิบายหลักการประมวลผลภาพได้ 2. สามารถนำหลักการประมวลผลภาพมาประยุกต์ใช้ได้ |
|||||||||||
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา | |||||||||||
1. เพื่อผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ให้มีความรู้ความสามารถสอดคล้องกับความก้าวหน้าของวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อผลิตนักวิทยาศาสตร์และนักปฏิบัติการระดับปริญญาตรี ที่มีความสามารถปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ในสาขาต่างๆ เช่น วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อฝึกฝนให้มีความคิดริเริ่มมีกิจนิสัยในการค้นคว้าและปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอสามารถแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผลปฏิบัติงานด้วยหลักวิชาการที่มีการวางแผนและควบคุมอย่างรอบคอบ ซึ่งก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน 4. เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต ความขยันหมั่นเพียร ความสำนึกในจรรยาบรรณแห่งอาชีพและความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม |
|||||||||||
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ | |||||||||||
1. คำอธิบายรายวิชา | |||||||||||
พื้นฐานการประมวลผลภาพ การประมวลผลภาพสำหรับภาพประเภทต่างๆ การปรับปรุงภาพ การแปลงทางเรขาคณิตของภาพ การตรวจหาขอบภาพ การแบ่งส่วนภาพ ปฎิบัติการประมวลผลภาพ มอร์โฟโลยี การบีบอัดภาพ การประมวลผลภาพในฟรีเควนซีโดเมน การประยุกต์ของการประมวลผลภาพ ทบทวน นำเสนอผลงาน |
|||||||||||
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา | |||||||||||
บรรยาย | สอนเสริม | การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน | การศึกษาด้วยตนเอง | ||||||||
45 | สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย | 3 | 6 | ||||||||
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล | |||||||||||
3 | |||||||||||
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา | |||||||||||
1 คุณธรรมและจริยธรรม | |||||||||||
1.1 คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องได้รับ 1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ |
|||||||||||
1.2 วิธีการสอน -บรรยาย -วีดีโอ -case study -power point -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|||||||||||
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 คะแนนเก็บ |
|||||||||||
2 ความรู้ | |||||||||||
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.1.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง |
|||||||||||
2.2 วิธีการสอน -บรรยาย -วีดีโอ -case study -power point -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|||||||||||
2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 คะแนนเก็บ 2.3.2 คะแนนสอบกลางภาค 2.3.3 คะแนนสอบปลายภาค |
|||||||||||
3 ทักษะทางปัญญา | |||||||||||
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับ 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม |
|||||||||||
3.2 วิธีการสอน -บรรยาย -วีดีโอ -case study -power point -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|||||||||||
3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 คะแนนเก็บ 3.3.2 คะแนนสอบกลางภาค 3.3.3 คะแนนสอบปลายภาค |
|||||||||||
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล | |||||||||||
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ต้องได้รับ 4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง |
|||||||||||
4.2 วิธีการสอน -บรรยาย -วีดีโอ -case study -power point -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|||||||||||
4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 คะแนนเก็บ 4.3.2 คะแนนสอบกลางภาค 4.3.3 คะแนนสอบปลายภาค |
|||||||||||
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องได้รับ 5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม |
|||||||||||
5.2 วิธีการสอน -บรรยาย -วีดีโอ -case study -power point -แลกเปลี่ยนความคิดเห็น |
|||||||||||
5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 คะแนนเก็บ 5.3.2 คะแนนสอบกลางภาค 5.3.3 คะแนนสอบปลายภาค |
|||||||||||
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล | |||||||||||
1. แผนการสอน | |||||||||||
ครั้งที่ | รายละเอียด | จำนวน ชั่วโมง | กิจกรรมการเรียน
การสอน สื่อที่ใช้ |
ผู้สอน | |||||||
1 | พื้นฐานการประมวลผลภาพ – ทราบถึงประโยชน์และความสำคัญของการประมวลผลภาพ – อธิบายโครงสร้างข้อมูลของภาพได้ – อธิบายลักษณะของภาพประเภทต่างๆได้ – สามารถอ่านภาพ แสดงภาพ และ เขียนภาพได้ – สามารถเข้าถึงสภาพแวดล้อมในการประมวลผลภาพได้ – สามารถประมวลผลภาพและแสดงผลการประมวลผลภาพขั้นพื้นฐานได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
2 | การประมวลผลภาพสำหรับภาพประเภทต่างๆ – สามารถประมวลผลภาพขาวดำได้ – สามารถประมวลผลภาพระดับสีเทาได้ – สามารถประมวลผลภาพสีได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
3 | การปรับปรุงภาพ – สามารถขยายความคมชัดของภาพได้ – สามารถปรับฮิสโตแกรมของภาพได้ – สามารถใช้ตัวกรองต่างๆเพื่อปรับปรุงภาพได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
4 | การแปลงทางเรขาคณิตของภาพ – สามารถเคลื่อนย้ายภาพได้ – สามารถปรับขนาดของภาพได้ – สามารถหมุนภาพได้ – สามารถเฉือนภาพได้ – สามารถลงทะเบียนภาพได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
5 | การตรวจหาขอบภาพ – สามารถหาจุดที่ไม่ต่อเนื่องในภาพได้ – สามารถหาขอบภาพด้วยวิธีต่างๆได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
6 | การแบ่งส่วนภาพ – อธิบายการทำเทรสโชลดิ้งอย่างง่ายได้ – อธิบายการทำเทรสโชลดิ้งที่ดีที่สุดได้ – อธิบายการหาค่าระดับกั้นของ Otsu ได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
7 | ปฎิบัติการประมวลผลภาพ – สามารถปฏิบัติการประมวลผลภาพได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
8 | สอบกลางภาค | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
9 | มอร์โฟโลยี – อธิบายการขยายและการเซาะได้ – อธิบายการเปิดและการปิดได้ – อธิบายการแปลง Top-hat และ Bottom-hat ได้ – สามารถประยุกต์ใช้มอร์โฟโลยีได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
10 | การบีบอัดภาพ – อธิบายการบีบอัดภาพแบบ Run Length Encoding ได้ – อธิบายการบีบอัดภาพแบบ Huffman Code ได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
11 | การประมวลผลภาพในฟรีเควนซีโดเมน – สามารถอธิบายการประมวลผลภาพในฟรีเควนซีโดเมนได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
12 | การประยุกต์ของการประมวลผลภาพ – สามารถประยุกต์ใช้การประมวลผลภาพได้ |
3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
13 | ทบทวนวรรณกรรม นำเสนอผลงาน | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
14 | สรุปแนวคิดภาพรวมของการประมวลผลภาพได้ | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
15 | ศึกษาและพัฒนาระบบประมวลผลภาพตามความคิดสร้างสรรค์ของตนเองได้ | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
16 | นำเสนอผลงาน | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
17 | สอบปลายภาค | 3 | กิจกรรม -บรรยายเชิงอภิปราย สื่อที่ใช้ -powerpoint |
เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล | |||||||
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ | |||||||||||
ผลการเรียนรู้ | วิธีประเมิน | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ||||||||
1 ( 1.7 ) 2 ( 1.1 ) 3 ( 1.2, 1.1, 1.3, 1.4 ) 4 ( 1.3, 1.6 ) 5 ( 1.1, 1.2, 1.4 ) |
คะแนนเก็บ | 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 | 40 | ||||||||
2 ( 1.1 ) 3 ( 1.1, 1.4 ) 4 ( 1.6 ) 5 ( 1.1, 1.2, 1.4 ) |
คะแนนสอบกลางภาค | 8 | 30 | ||||||||
2 ( 1.1 ) 3 ( 1.1, 1.4 ) 4 ( 1.6 ) 5 ( 1.1, 1.2, 1.4 ) |
คะแนนสอบปลายภาค | 17 | 30 | ||||||||
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน | |||||||||||
1. เอกสารและตำราหลัก | |||||||||||
รศ.ดร.ชูชาติ ปิณฑวิรุจน์ (2550) การประมวลผลภาพดิจิตอลด้วย Matlab, ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ |
|||||||||||
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ | |||||||||||
รศ.ดร.ชูชาติ ปิณฑวิรุจน์ (2551) การประมวลผลภาพดิจิตอลขั้นสูงด้วย Matlab, ภาควิชาวิศวกรรม อิเล็กทรอนิคส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ |
|||||||||||
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ | |||||||||||
Rafael C. Gonzalez. (2004) Digital Image Processing Using Matlab, Pearson Prentice Hall, Upper Saddle River, Newjersey 07458. |
|||||||||||
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา | |||||||||||
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา | |||||||||||
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชานี้ ที่ทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้ 1 สนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน 3 กระดานสนทนาบนเว็บไซต์ |
|||||||||||
2. การประเมินการสอน | |||||||||||
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ดังนี้ 1 การสังเกตการณ์เรียนการสอนของผู้ร่วมทีมสอน 2 การทวนสอบประเมินผลการเรียนรู้ 3 อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยสังเกตจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา |
|||||||||||
3. การปรับปรุงการสอน | |||||||||||
หลังจากได้ผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 1 ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชา 2 สัมนาการจัดการเรียนการสอน 3 การวิจัยในชั้นและนอกชั้นเรียน 4 ปรับเปลี่ยนการเรียนรู้นอกชั้นเรียน |
|||||||||||
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา หมวดที่ 5 ข้อที่ 2 | |||||||||||
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก 1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 2 มีการแต่งตั้งกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม |
|||||||||||
5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา | |||||||||||
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 1 ปรังปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 |