วิชา อินเตอร์เน็ตสำหรับทุกสิ่งและระบบอัจฉริยะ

1. รหัสและชื่อรายวิชา

03-407-291-307          อินเตอร์เน็ตสำหรับทุกสิ่งและระบบอัจฉริยะ

 Internet of Things and Smart Systems

2. จํานวนหน่วยกิต

           หน่วยกิต 3(3-0-6)      

           เวลาเรียน บรรยาย   3 ชั่วโมง     ปฏิบัติ   0 ชั่วโมง    นอกเวลา   6 ชั่วโมง      

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

          3.1 หลักสูตรที ใช้รายวิชา      หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรอัจริยะ

          3.2 ประเภท ของรายวิชา       หมวดวิชาชีพเฉพาะ

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเทพ   เวงสูงเนิน
อาจารย์ผู้สอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล      
                วิทยาเขตศูนย์กลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่  2/2566

หลักสูตร หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรอัจริยะ    

ชั้นปีที่เรียน นักศึกษา 4 ปี ชั้นปีที่ ปี 3

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite)   

ไม่มีไม่มี
 ไม่มี
  

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)

ไม่มีไม่มี
 ไม่มี
  

8. สถานที่เรียน

อาคารปฏิบัติการวิศวกรรม วิทยาเขตศูนย์กลางนครราชสีมา

9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

          3 พฤศจิกายน 2566

หมวดที่  2  จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1.  จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนผ่านเข้าใจถึงหลักการและแนวความคิดพื้นฐานเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลอัจฉริยะสถาปัตยกรรมบริการและโปรโตคอลความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยเทคโนโลยี IoTและการใช้งานระบบอัจฉริยะเกษตรอัจฉริยะพลังงานอัจฉริยะบ้านอัจฉริยะระบบสุขภาพอัจฉริยะ มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับIoTการติดตามสภาวะแวดล้อมในและนอกโรงเรือนการควบคุมอุปกรณ์สำหรับงานเกษตรกรรม การประยุกต์ใช้ในงานเกษตรแม่นยำ

2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา

          –

หมวดที่  3  ลักษณะและการดำเนินการ

1.  คำอธิบายรายวิชา

           เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนผ่านเข้าใจถึงหลักการและแนวความคิดพื้นฐานเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลอัจฉริยะ สถาปัตยกรรม บริการและโปรโตคอล ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย เทคโนโลยี IoT และการใช้งานระบบอัจฉริยะ เกษตรอัจฉริยะ พลังงานอัจฉริยะ บ้านอัจฉริยะระบบสุขภาพอัจฉริยะ มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับIoTการติดตามสภาวะแวดล้อมในและนอกโรงเรือนการควบคุมอุปกรณ์สำหรับงานเกษตรกรรม การประยุกต์ใช้ในงานเกษตรแม่นยำ

2.  จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา 

บรรยาย สอนเสริมการฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง
45  09075

3.  จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

          3

หมวดที่  4  การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1.  คุณธรรม จริยธรรม

    1.1  คุณธรรม จริยธรรม

1.1.1  มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบ

1.1.2  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร

1.1.3  ตระหนัก และสำนึกในความเป็นไทย

    1.2  วิธีสอน

1.2.1  กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย

    1.3  วิธีการประเมินผล

1.3.1  ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม

2.  ความรู้

    2.1  ความรู้ที่ต้องได้รับ

2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม

2.1.2  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

2.1.3  สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสมรวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

2.1.4  สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้

    2.2  วิธีการสอน

2.2.1  จัดการเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง

    2.3  วิธีการประเมินผล

2.3.1  การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน

3.  ทักษะทางปัญญา

    3.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

3.1.1  สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึง การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.1.2  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ

    3.2  วิธีการสอน

3.2.1  กรณีศึกษา

3.2.2  การอภิปรายกลุ่ม

    3.3  วิธีการประเมินผล

3.3.1  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา

4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

    4.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1.1  รู้จักบทบาทหน้าที่และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ

4.1.2  มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม

    4.2  วิธีการสอน

4.2.1  กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม

    4.3  วิธีการประเมิน

4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา

5.  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

    5.1  ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา

5.1.1  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี

5.1.2  มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูดการเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์

5.1.3  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้

    5.2  วิธีการสอน

5.2.1  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง

    5.3  วิธีการประเมินผล

5.3.1  ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่  5  แผนการสอนและการประเมินผล

1.  แผนการสอน

สัปดาห์ที่รายละเอียดจำนวนชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน  สื่อที่ใช้ ผู้สอน
1สถาปัตยกรรม Internet of Things3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
2แนะนำ IoT Development Kits3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
3พื้นฐานภาษา C/C++3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
4ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
5การเขียนโปรแกรม Embedded Programming3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
– นำเอางานวิจัยมาสอนร่วมเพื่อแสดงให้เห็นถึงกรณีศึกษาการนำเอาองค์ความรู้ไปใช้งาน
– นำเอาหลักองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
6แนะนำสถาปัตยกรรมของ Arduino3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
7Workshop#13กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
8สอบกลางภาค3ข้อสอบออนไลน์ หรือข้อสอบทำที่มหาวิทยาลัยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
9เทคโนโลยีรีเลย์3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
10การสื่อสารผ่านพอร์ตอนุกรม3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
11เทคโนโลยี Sensors3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
12การเชื่อมต่อ NodeMCU กับเครือข่าย WiFi3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
13TCP/IP Communication3กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
– นำเอางานวิจัยมาสอนร่วมเพื่อแสดงให้เห็นถึงกรณีศึกษาการนำเอาองค์ความรู้ไปใช้งาน
– นำเอาหลักองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
14เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย3
กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
15Cloud Computing และการจัดการข้อมูล3
กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
16Workshop#23กิจกรรม
– บรรยายเชิงอภิปราย
– สาธิตการเขียนแบบ
– ปฏิบัติการเขียนแบบ
– active learning
– CDIO
สื่อที่ใช้
-Power Point
– เอกสารประกอบการสอน
– สื่อการสอนออนไลน์
– นำเอางานวิจัยมาสอนร่วมเพื่อแสดงให้เห็นถึงกรณีศึกษาการนำเอาองค์ความรู้ไปใช้งาน
– นำเอาหลักองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล
17สอบปลายภาค3ข้อสอบออนไลน์ หรือข้อสอบทำที่มหาวิทยาลัยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมชัย หล่อวงศ์ตระกูล

2.  แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการเรียนรู้วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1.คุณธรรม จริยธรรม
2. ความรู้
3. ทักษะทางปัญญา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรม สอบข้อเขียนและสอนปฏิบัติทุกสัปดาห์60
1.คุณธรรม จริยธรรม
2. ความรู้
3. ทักษะทางปัญญา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สอบ ณ มหาวิทยาลัย หรือสอบออนไลน์820
สอบปลายภาคสอบ ณ มหาวิทยาลัย หรือสอบออนไลน์1720